หน้าแรก
ผลงานของเรา
ประชาสัมพันธ์
ร้องเรียน-ร้องทุกข์
E-Service
ส่งอีเมล์
แผนที่เว็บ
ติดต่อเรา
×
×
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไป
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ด้านการเมืองการบริหาร
วิสัยทัศน์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
โครงสร้างการบริหาร
โครงสร้างหน่วยงาน
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
ทำเนียบบุคลากร
สำนักปลัด
กองคลัง
กองการศึกษาฯ
กองช่าง
กองสวัสดิการสังคม
กองสาธารณสุข
หน่วยตรวจสอบภายใน
ช่องทางติดต่อราชการ
ช่องทางติดต่อราชการ
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การให้บริการ
การจัดเก็บภาษี
กู้ชีพฉุกเฉิน1669
บรรเทาสาธารณภัย
โครงสร้างพื้นฐาน
สวัสดิการสังคมและพัฒนาชุมชน
สาธารณสุขและสุขอนามัย
การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
รับเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน
งานงบประมาณ
การโอนงบประมาณ
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลดำเนินงานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2565 รอบ 6 เดือน
แผนการจัดซื้อจัดจ้างและแผนการจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
การบริการ
คู่มือสำหรับประชาชน
คู่มือการร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
คู่มือการร้องเรียน/ร้องทุกข์
คู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
คู่มือผู้สูงอายุ
คู่มือคนพิการ
KM
คู่มือการปฏิบัติงานการจัดเก็บภาษี
สถิติการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึ่งพอใจการให้บริการ
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มีการทบทวนปรับปรุงเปลี่ยนแปลงยกเลิกภารกิจ หรือข้อบบัญญัติ
ข้อบัญญัติการควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสุนัขและแมว
ประกาศการจัดตั้ง อบต.
ประกาศเรื่องมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
ประชุมสภาสมัยสามัญ
ประุมสภาสมัยวิสามัญ
แผนปฏิบัติการลดใช้พลังงาน
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต ปี2564
ประกาศราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินแะสิงปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.1) ประจำปี พ.ศ. 2564
บัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง(ภ.ด.ส.3) ประจำปี พ.ศ.2564
บัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.1) ปี 2565
บัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง(ภ.ด.ส.3) ประจำปี พ.ศ.2566
ประกาศราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินแะสิงปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.1) ประจำปี พ.ศ. 2566
งานนโยบายและแผน
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนดำเนินงานประจำปี
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต รอบ 6 เดือน
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประมวลจริยธรรม
การขับเคลื่อนจริยธรรม
กิจกรรมเสริมสร้างจริยธรรม
การปประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
กฎหมายน่ารู้
อำนาจหน้าที่
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการติดต่อราชการ
ติดต่อหน่วยงาน
แผนที่ตั้ง อบต.เมืองฝาง
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายไม่รับของขวัญ
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
มอบอำนาจรักษาราชการแทน ปฏิบัติราชการแทน
การรายงานความก้าวหน้างานบริหารทรัพยากรบุคคล
Happy Workplace หรือองค์กรแห่งความสุข
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้านศิลปกรรม
ด้านหัตถกรรม
ด้านภาษาและวรรณกรรม
ด้านความเชื่อและพิธีกรรม
ด้านเกษตรกรรม
หน้าแรก
การขายฝาก
การขายฝาก
การขายฝาก
การขายฝาก
ความหมาย
:
สัญญาขายฝากเป็นสัญญาซื้อขายซึ่งสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อโดยผู้ซื้อตกลงในขณะทำสัญญาว่า
ผู้ขายมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินนั้นคืนได้ภายในกำหนดเวลาเท่าใดแต่ต้องไม่เกินเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้
เช่น ขายที่ดินโดยมีข้อตกลงว่า
ถ้าผู้ขายต้องการซื้อคืนผู้ซื้อจะยอมขายคืนเช่นนี้ถือว่าเป็นข้อตกลงให้ไถ่คืนได้
ตัวอย่าง
นายสีนำสวนทุเรียนไปขายกับผู้ใหญ่มา
โดยมีข้อตกลงในขณะทำสัญญาว่าผู้ใหญ่มายินยอมให้นายสีไถ่ที่สวนทุเรียนนั้นคืนได้ภายในกำหนด
1
ปี นับแต่วันที่ซื้อขายที่สวนกันสัญญาชนิดนี้เรียกว่า สัญญาขายฝาก
ข้อตกลงกันว่า
“
ผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์สินคืนได้
”
ข้อตกลงนี้จะต้องมีขึ้นในขณะทำสัญญาซื้อขายกันเท่านั้น
ถ้าทำขึ้นภายหลังจากที่ได้ทำสัญญาซื้อขายแล้ว สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาขายฝาก
แต่เป็นคำมั่นว่าจะขายคืนนั้น
ทรัพย์สินที่สามารถขายฝากได้
:
ทรัพย์สินทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นประเทศใดก็ตาม เช่น
ที่ดิน ที่สวน ไร่นา บ้าน รถยนต์ เรือ เกวียน โทรทัศน์ ฯลฯ ย่อมสามารถขายฝากได้เสมอ
แบบของสัญญาขายฝาก
:
(1)
ถ้าเป็นสัญญาขายฝากอสังหาริมทรัพย์ (คือ
ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้) เช่น ที่ดิน ที่นา บ้าน ฯลฯ
ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานน้าที่
ในกรณีที่เป็นที่ดินต้องจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
ถ้าเป็นบ้านก็จดต่อที่ว่าการอำเภอที่บ้านนั้นตั้งอยู่
ถ้าไม่ทำตามนี้แล้วถือว่าสัญญาขายฝากจะเสียเปล่าบังคับไม่ได้
เท่ากับว่าไม่ได้ทำสัญญากันเลย
ตัวอย่าง นายทุเรียนต้องการขายฝากที่ดิน
1
แปลง
แก่นายส้มโอ ก็ต้องทำสัญญาขายฝากที่ดินนี้ต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
และจดทะเบียนการขายฝากที่ดินนี้ต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
ถ้าไม่ทำเช่นนี้แล้วถือว่าสัญญาขายฝากรายนี้เสียเปล่าใช้ไม่ได้มาตั้งแต่แรก
(2)
ถ้าเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ( คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้
ซึ่งกำหนดไว้เป็นพิเศษว่าจะต้องทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่) เช่น แพ
เรือยนต์ สัตว์พาหนะ ฯลฯ ต้องทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
โดยที่เรือจะจดทะเบียนที่กรมท่า สัตว์พาหนะและแพจะต้องจดที่อำเภอ
ถ้าไม่ทำตามนี้แล้วถือว่าสัญญาขายฝากจะเสียเปล่าใช้บังคับไม่ได้เลย
(3)
ถ้าเป็นขายฝากสังหาริมทรัพย์ชนิดธรรมดา (คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้
เว้นแต่เรือ แพ
สัตว์พาหนะที่ต้องทะเบียนดังกล่าวในข้อ
1)
ที่มีราคา
500
บาทหรือเรียกว่า
500
บาทขึ้นไป เช่น รถยนต์ เกวียน เครื่องสูบน้ำ
เป็นต้น
การขายฝากนี้จะทำเป็นหลักฐานเป็นหนังสือให้ผู้ขายฝากและผู้ซื้อลงชื่อไว้ในหนังสือหรือต้องมีการวางมัดจำหรือมีการชำระหนี้บางส่วนไปแล้ว
มิฉะนั้นจะฟ้องร้องให้ศาลบังคับไม่ได้
ข้อตกลงไม่ให้ผู้ซื้อฝากจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝาก
:
ในการตกลงฝากคู่สัญญาจะตกลงกันไม่ให้ผู้ซื้อฝากจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝากก็ได้
แต่ถ้าผู้ซื้อขายฝากฝ่าฝืนข้อตกลงที่กำหนดในสัญญา
โดยนำทรัพย์สินที่ขายฝากไปจำหน่ายให้ผู้อื่น
ผู้ซื้อฝากจะต้องรับผิดชดใช้ความเสียหายใดๆ
ที่เกิดขึ้นแก่ผู้ขายฝาก
ตัวอย่าง
นางดำนำแหวนแต่งงานของตนซึ่งมีราคา
70,000
บาท
ไปขายฝากแก่เถ้าแก่เฮงในราคา
50,000
บาท โดยสัญญาตกลงว่า
“
ห้ามเถ้าแก่เฮงนำแหวนไปขายให้แก่บุคคลอื่น
”
ต่อมาเถ้าแก่นำแหวนไปขายให้นางดี
โดยนางดีไม่ทราบว่าแหวนนี้เป็นของใคร เป็นเหตุให้นางดำไม่สามารถติดตามเอาแหวนคืนได้
เช่นนี้เถ้าแก่เฮงต้องชดใช้ค่าเสียหายอันเป้นราคาแหวน
20,000
บาท
กำหนดเวลาในการไถ่ทรัพย์สิน
:
(1)
ถ้าเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ ต้องกำหนดเวลาในการใช้สิทธิไถ่คืนไม่เกิน
10
ปี นับแต่วันที่มีการซื้อขายฝากกัน แต่ไม่ได้กำหนดเวลาในการไถ่เอาไว้
หรือกำหนดเวลาไว้เกินกว่า
10
ปี กฎหมายให้ลดเวลาลงเหลือแค่
10
ปีเท่านั้น
(2)
ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษและชนิดธรรมดา
ต้องกำหนดเวลาไถ่คืนไม่เกิน
3
ปี นับตั้งแต่วันซื้อขายฝากกัน
แต่ถ้าไม่ได้กำหนดเวลาในการไถ่คืนเอาไว้ หรือกำหนดเวลาไว้เกินกว่า
3
ปี
ให้ลดเวลาลงเหลือ
3
ปี เท่านั้น
ปฏิทินกิจกรรม
กันยายน 2567
อา
จ
อ
พ
พฤ
ศ
ส
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
วันที่ 18 กันยายน 2567
ช่องทางการติดต่อ
ถาม-ตอบ
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
สมุดเยี่ยมชม
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
เว็บไซต์บริการ
กรมส่งเสริมการปกครอง
สหกรณ์ออมทรัพย์ กรมส่งเสริม ฯ
ท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์
ชมรมคนเทศบาล
องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์
ชมรมนิติกร
ความรู้เกี่ยวกับ อบต.
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
อบต.คืออะไร ?
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
เว็บไซต์ท้องถิ่นไทย
สมาคมสันนิบาตเทศบาลไทย
คณะกรรมการพนักงานท้องถิ่น
คณะกรรมการการเลือกตั้ง
กลุ่มเพื่อนพนักงานส่วนตำบล
ค้นหาเบอร์โทรศัพท์
ฐานข้อมูลหน่วยงานรัฐ
เช็คเที่ยวบิน
ห้องสมุดกฏหมาย
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
ตรวจสอบสภาพอากาศ
แบบสำรวจความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเว็บไซต์ใหม่ของ อบต.
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
โหวต
ผลโหวต
สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
ออนไลน์ทั้งหมด
1
คน
หมายเลข IP
44.222.131.239
คุณเข้าชมลำดับที่
1,786,299
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร
การพัฒนาบุคลากร
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ
https://www.facebook.com/profile.php?id=100011853701048
ตอบประเมินอบต.
ร้องเรียนการทุจริต
องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองฝาง
ตำบลเมืองฝาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000
Tel
: 044 - 110248 สำนักปลัด
Fax
: 044 - 110248
Email
: OBT_345muangfang@hotmail.com
Copyright © 2020 by
OPSTECH
All Right Reserved.